Home ข้อคิดสอนใจ เหตุผล ว่ า ทำ ไม สมัยนี้ ลูก ไม่ อ ย า ก คุยกับพ่อแม่

เหตุผล ว่ า ทำ ไม สมัยนี้ ลูก ไม่ อ ย า ก คุยกับพ่อแม่

ปกติพ่อแม่ที่ทำงานนอกบ้านเป็นประจำ การหาเวลาคุยกับลูก ๆ

ก็มีน้อยเต็มทีอยู่แล้ว ยิ่งในยุคที่มี 4G ใช้กันได้เกือบทั่วประเทศ ทำให้การสื่อ ส า ร ผ่ า น

 

แอพพลิเคชั่นมีบทบาทยิ่งกว่าการพูดคุยกัน เ สี ย อีก กรณีเกิดปัญหาระหว่างพ่อแม่กับลูก

ที่คุยกันไม่รู้เรื่อง มีการสื่อ ส า ร ไม่ตรงกัน หรือพ่อแม่ไม่เข้าใจลูก

 

ช่องว่างตรงนี้ก็กลายเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้ลูกไม่อ ย า กคุยกับพ่อแม่ก็ได้

มีหลายปัจจัยในปัจจุบันที่เป็นเหตุผลให้ เ ด็ ก สมัยนี้ห่างที่จะคุย อ ย่ า ง

 

เข้าใจกับพ่อแม่มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเขินอาย การอยู่ห่างกัน การเห็นเพื่อน

เป็นที่ปรึกษามากกว่าพ่อแม่ หรือการมีแอพพลิเคชั่นเข้ามาแทนที่การสื่อ ส า ร

 

แบบตัวต่อตัว แต่สิ่งสำคัญที่ลูกไม่กล้าหรืออ ย า ก

เข้ามาคุยกับพ่อแม่อาจเกิดจากเหตุผลเหล่านี้หรือเปล่า

1. ประมาณว่าเกรงใจเมื่อเห็นพ่อแม่ทำงานเหนื่อย

ใจหนึ่งก็อ ย า กจะเข้าไปปรึกษาหรือเล่าเรื่องของวันนี้ให้ฟัง

แต่เมื่อเห็นพ่อแม่ทำงานกลับมาเหนื่อย ๆ

ก็กลัวจะไปสร้างความรำคาญให้ หรือพอจะเข้าไปคุยพ่อแม่

 

กลับไม่สนใจที่จะฟัง เมื่อเกิดช่องว่างตรงนี้ลูกเลยเลี่ยงที่จะพูดคุยกับพ่อแม่

หรือพ่อแม่แทนที่จะให้เวลากลับลูกหลังกลับบ้านชวนลูกคุยหรือเล่าเรื่องต่าง ๆ

ก็กลับไม่สนใจ จึงกลายเป็นเกิดระยะห่างระหว่างพ่อแม่กับลูกขึ้นโดยไม่รู้ตัว

 

2. เอาเรื่องลูกไปเล่าต่อ

การนำเรื่องที่ลูกไปเล่าต่อหน้าไม่ว่าจะเป็นการพูดเปรียบเทียบในทางไหน

ก็เป็นสาเหตุที่ลูกไม่ อ ย า กคุยกะพ่อแม่ในเรื่องของตัวเอง

เพราะรู้สึกอับอายหรือไม่ชอบที่จะให้ถูกพูดถึง

 

3. พ่อแม่ขี้บ่นกับเรื่องไม่เป็นเรื่อง

มันเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากช่องว่างระหว่างวัย พ่อแม่อาจจะคิดอีก อ ย่ า ง

ลูกอาจจะคิดไม่ตรงกับพ่อแม่ ทำให้เกิดความขัดใจกัน

 

เมื่อเกิดความไม่พอใจพ่อแม่ก็จะเป็นฝ่ายบ่นลูก ทำให้ลูกไม่อ ย า กคุย

หรือบางทีก็อาจเกิดลุกหนีเข้าห้องของตัวเองไปเลย

 

4. คอยจ้องจับผิด พอลูกมีปัญหามาเล่า

แทนที่จะรอฟังให้จบหรือถามไถ่ด้วยความเป็นห่วง แต่กลับคอยมองว่าลูกทำไม่ถูก

หรือฟังแต่ไม่ช่วยลูกแก้ไขปัญหา เจอแบบนี้ต่อไปลูกก็ไม่อ ย า กคุยด้วยแล้ว

 

5. ไม่ได้ฟังลูก อ ย่ า ง ตั้งใจ

เมื่อลูกอ ย า กจะคุยกับพ่อแม่ ก็แค่ฟังให้ลูกพูดจบ ๆ ไป โดยไม่มีปฏิกิริ ย า

โต้ตอบ หรือไม่มองหน้าลูกเอาแต่ทำงานของตัวเอง เมื่อลูก

 

จะแสดงความคิดเห็น ก็มีทีท่าไม่สนใจ ในเมื่อพ่อแม่ไม่สนใจฟังบ่อย ๆ

เข้าลูกก็ไม่อ ย า กเดินที่จะมาเล่าเรื่องอะไรของตัวเองให้ฟังอีก

 

6. ทำตัวเป็นนักสืบ

ไม่ว่าใครต่างก็ต้องการพื้นที่ส่วนตัวบ้าง เ ด็ ก ๆ ก็เช่นกัน โดยเฉพาะลูก

ที่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่นมักจะต้องการห้องส่วนตัว พื้นที่ส่วนตัว

 

การที่พ่อแม่เข้าไปในห้องของลูกโดยไม่บอกกล่าว หรือแอบ

ไปดูสมุดบันทึกส่วนตัวของลูก แทนที่จะให้ลูกเล่าเรื่องประจำวันให้ฟัง

 

หรือตั้งคำถามแบบนักสืบจนลูกอึดอัด

และอาจหลบเลี่ยงหน้าที่จะเจอเพื่อพูดคุยกับพ่อแม่ก็ได้

 

7. ชวนคุยผิดจังหวะ

เมื่อลูกเริ่มโตขึ้นต่างฝ่ายต่างก็มีเวลาหรือกิจ ก ร ร ม ที่ต้องทำ

จังหวะที่พ่อแม่ว่างอ ย า กชวนลูกคุยด้วยอาจไม่ลงตัวในเวลาที่ลูกอ ย า กจะพักผ่อน

 

เล่น เกม อ่ า น หนังสือ เมื่อถูกขัดจังหวะเข้าแทนที่อ ย า กจะคุยก็ไม่สนใจที่จะฟังพ่อแม่

เมื่อหาเวลาคุยผิดจังหวะแบบนี้เห็นที่ทางแก้คงต้องขอเวลาลูก

 

ในช่วงว่างที่ลงตัว เพื่อให้เป็นช่วงเวลา ท อ ง

ของครอบครัวที่พ่อแม่ลูกมีเวลาให้กันนะคะ

 

ขอบคุณที่มา : แ ส ง ธ ร ร ม นำ ท า ง

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …