Home ข้อคิดสอนใจ บริหาร เ งิ น ให้มีกิน มีใช้ไม่ขัดสน

บริหาร เ งิ น ให้มีกิน มีใช้ไม่ขัดสน

1. จดบันทึกทุ กรายรับและรายจ่าย

เมื่อเปลี่ยนความคิดและมีความมุ่งมั่น ที่จะเก็บเ งินได้แล้ว สิ่งต่อมาที่คุณต้องทำคือการจดบันทึก

ทุ กรายรับและรายจ่ายของคุณ ตั้งแต่ยอดเงิ นเดือน สุทธิที่ได้รับ ไปยันค่าขนมซองละ 10 บาทที่คุณซื้อ

 

รวมไปถึงภาระห นี้สินและค่าใช้จ่ายจำเป็น เช่น ค่าน้ำไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าบัตรโดยส า ร รถไฟฟ้า

เป็นต้น ลงไป วิ ธีนี้จะทำให้คุณรู้ว่า คุณมีค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือนเท่าไหร่ มีรายจ่ายอันไหน

ที่เป็นรายจ่ายจำเป็นต้องจ่ายทุ กเดือน รายจ่ายไหนที่ไม่จำเป็นและคุณสามารถตัดมันออกไปได้

 

2. เปลี่ยนความคิดเรื่อง เงิ นเดือนน้อย

การมีเงิ นเดือนน้อย ไม่ใช่อุปสรรคในการเก็บออม แต่ความคิดที่ว่า “มีเงิ นเดือนน้อยจะเก็บเงิ นได้อย่ างไร

แค่ใช้จ่ายก็แทบจะไม่พอ ในแต่ละเดือนแล้ว” นี้ต่างหากเล่า ที่เป็นอุปสรรคในการเก็บเ งิน

 

ความคิดนี้ตัดกำลังคุณทั้ง ๆ ที่คุณยังไม่ทันได้ลองเริ่มต้นเก็บเงิ นเลยด้วยซ้ำดังนั้น ก้าวแรกในการเก็บ

เงิ นคือการเปลี่ยนวิ ธีคิดของคุณ ให้ได้ก่อน และมีความมุ่งมั้นว่าจะต้องเก็บเงิ นให้ได้ ไม่ว่าจะมีรายได้

มากน้อยแค่ไหนก็ตาม

 

3. ออมก่อนค่อยใช้

สิ่งหนึ่งที่เชื่อว่าหลาย คนคงเคยได้ยินมามากแล้วว่า “การเก็บออมเ งินที่ได้ผลที่สุดคือ การเก็บออมก่อนค่อย

นำเงิ นที่เหลือไปใช้จ่าย” ซึ่งเป็นเรื่องที่หลายคนทำใจ ย า ก ที่จะทำ

 

แต่ในเมื่อมุ่งมั่นที่จะเก็บเ งินแล้ว ยังไงก็ต้องทำได้แน่นอน จากการจดบันทึกรายรับรายจ่าย ข้อที่แล้วซึ่งช่วย

ทำให้คุณรู้คร่าว ๆ แล้วว่าคุณมีค่าใช้จ่ายจำเป็นต่อเดือนเท่าไหร่ มีเงิ นเหลือใช้จ่ายเท่าไหร่

 

สามารถเก็บเ งินได้เท่าไหร่ ทำให้เมื่อคุณได้รับเ งินเดือนมาคุณสามารถเก็บเงิ นเอาไว้ก่อนได้ทันทีซึ่งเงิ น

ออมนี้ไม่จำเป็นต้องแบ่งเก็บเอาไว้มากมาย ถ้าคุณมีรายได้น้อยก็เก็บออมน้อย

 

มีมากก็ค่อยเก็บออมมาก ตัวอย่ างเช่น คุณมีเงิ นเดือน 15,000 บาท ออมเงิ นทันที เมื่อได้รับเงิ นเดือน 1,000 บาท

หักค่าใช้จ่ายจำเป็นต่อเดือน 7,000 บาท เหลือเ งินใช้จ่าย 7,000 บาท ก็ถือว่าคุณยังสามารถ

 

ใช้ชีวิตทั้งเดือนได้แบบสบาย ๆโดยไม่ลำบากมากนัก หากคำนวนเป็นรายวัน ก็จะอยู่ที่ 7,000 ÷ 30 = 233.33 บาท

โดยคุณอาจจะปัดเศษค่าใช้จ่ายรายวันเป็นวันละ 200 บาท เพื่อให้ง่าย ต่อการจัดสรรเงิ นแต่ละวัน

 

(หรือง่ายต่อการกดเงิ นจาก ATM นั่นเอง) ส่วนเศษ 33.33 บาทในแต่ละวันนั้น ก็หักเป็นเงิ นเก็บไปจะได้ถึง

33 x 30 = 990 บาท ต่อเดือน

 

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ในหนึ่งเดือน คุณจะมีเงิ นเก็บ 1,990 บาท ในหนึ่งปีคุณจะมีเงิ นเก็บมากถึง 23,880 บาท

ถือเป็นเ งินจำนวนไม่น้อยเลยนะคะ

 

4. มีเป้าหมายในการเก็บเ งิน

การเก็บออมเงิ นเฉย ๆ อาจจะทำให้คุณ ไม่มีแรงจูงใจในการเก็บออมเ งิน ดังนั้น การเก็บเงิ นของคุณจึงล้ มเหลว

ไม่เคยเก็บอะไรได้เสี ยที ดังนั้น ลองตั้งเป้าหมาย ในการเก็บออมเ งิน ของคุณดูสิ

 

อาจจะเริ่มจากสิ่งเล็ก ๆ ก่อน เช่น อ ย า ก จะเก็บเงิ นเพื่อซื้อท องสัก 1 บาท ราคาประมาณ 25,000 บาท

เพื่อเก็บเอาไว้เก็งกำไร เป็นต้น เมื่อคุณมีเป้าหมาย

 

ก็จะทำให้คุณมีแรงจูงใจในการเก็บเงิ นมากขึ้น และเมื่อคุณบรรลุเป้าหมายเล็ก ๆ ได้ ก็จะทำให้คุณ

มีความภูมิใจและสามารถเก็บเ งินก้อนใหญ่ กว่าเดิมได้ง่ายมากขึ้นนั่นเอง

 

5. คิดให้นานก่อนซื้อของ

การซื้อของอะไร ที่เป็นสิ่งฟุ่มเฟื่อย เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า นาฬิกา เป็นต้น หากคุณปล่อยตัวปล่อยใจไปตามอ ารมณ์

เงิ นเก็บของคุณก็จะหมดไป กับสิ่งของเหล่านี้ อย่ าว่าแต่เงิ นเก็บเลย เงิ น

 

ที่จะนำไปใช้จ่ายรายวันก็ไม่เหลือเช่นกัน แต่จะทำอย่ างไรล่ะ เมื่อ อ ย า ก ได้ของฟุ่มเฟือยเหล่านั้นมาครอบครอง?

หลายคนหันไปพึ่งพาบัตรเครดิต และก่อให้เกิดปัญหา ห นี้สินตามมา

 

เพราะว่าไม่มีเงิ นมากพอที่จะไปชำระบิลบัตรเครดิตเต็มจำนวน ต้องเลือกจ่ายเพียงขั้นต่ำ ก่อให้เกิดด อกเบี้ย

พอกพูนมากขึ้นไปเรื่อย ๆ ไม่รู้จบ ดังที่คนส่วนใหญ่ในประเทศไทย กำลังมีปัญหาอยู่ในปัจจุบันนั่นเอง

 

6. เปลี่ยนนิสัยการใช้เ งิน

จากตัวอย่ างในข้อที่แล้ว ทำให้หลายคนอาจจะบ่นว่า เงิ นแค่วันละ 200 บาท จะไปพอใช้จ่ายแต่ละวันได้อย่ างไร

เราขอบอกว่าพอใช้จ่ายแน่นอนค่ะ หากคุณเปลี่ยนนิสัยการใช้เงิ น

 

ให้เพียงพอกับจำนวนเงิ นต่อวัน ตัวอย่ างเช่น งดทานกาแฟสดราคาแก้วละหลายสิบบาท ไปทานกาแฟชง

ที่ออฟฟิศมีบริการฟรีแม้ว่าจะต้องเสี ยแรงชงเองแต่คุณไม่เสี ยเงิ นเลยแม้แต่บาทเดียว

 

มีเงิ นเหลือไปใช้จ่ายอย่ างอื่น ในแต่ละวันได้อีก หรืออีกทางหนึ่งที่เหมาะกับครอบครัวที่ทำ อ า ห า ร

ทานเองที่บ้านอยู่เป็นประจำ คือห่อกล่องข้าวกลางวันไปทานที่ทำงาน ก็ช่วยประหยัดเ งินรายวัน

ของคุณไปได้อีกหลายบาทเลยทีเดียว

 

ขอบคุณที่มา : sabailey

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …