Home ข้อคิดสอนใจ “พ่อแม่ อ ย่ า ยัดเยียด…การศึกษาให้ลูก” อ่ า น แล้วดีมาก

“พ่อแม่ อ ย่ า ยัดเยียด…การศึกษาให้ลูก” อ่ า น แล้วดีมาก

เข้าใจว่าทุ กวันนี้การศึกษาคืออนาคต คือความหวังที่จะช่วยพลิกโอกาสให้ลูกคุณหลาย ๆ ครอบครัวจึงทุ่มเททุ กสิ่ง

ที่มีทั้ง เงิ น และเวลาแลกกับการให้ลูกได้เรียนโรงเรียนดี ๆ คอร์สติวสอนพิเศษต่าง ๆ มากมาย

 

จนลืมไปว่าควรพัฒนาทักษะด้านอื่นควบคู่กันไปด้วย

– เมื่อลูกอายุได้ 2 ขวบ

 

เราส่งลูกเข้าเนอสเซอรี่ หมดค่าใช้จ่ายไปปีละ 8 หมื่น

เพียงแค่คิดว่า กลัวจะพัฒนาไม่ทันเพื่อน เรียนไม่ทันเพื่อน กลายเป็นส่งลูกไปติ ดหวัดที่โรงเรียน

 

เพราะวัยนี้ภู มิต้ านทานยังไม่แข็ งแรงพอไหนจะเ สี่ยงที่จะต้องเจอกับเนอสเซอรี่ที่ไม่ดี

พี่เลี้ยงที่สอบแบบผิด ๆ อีกกลายเป็นพฤติก ร ร มตัวอย่ างที่ซึมซับมาโดยไม่รู้ตัว

 

– อนุบาลยันประถม

เราจัดเต็ม ทั้งใน นอกหลักสูตร ต้องกวดวิชาเพื่อเตรียมสอบเข้า ป.1และ เสริมด้วย คณิต ว่ายน้ำ ไวโอลิน อังกฤษ จีน ไทย เทควัน

โด้ อูคูเลเล่ ฯลฯ กลัวลูกจะเก่ง กลัวจะน้อยหน้าข้างบ้านหารู้ไม่ว่าจิตนาการต่างหากคือสิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะนำพาให้ลูกคุณเติบโต

 

ขึ้นไปเป็นผู้ใหญ่ที่ประสบความสำเร็จได้ในอนาคต แต่คุณกำลังบังคับให้ เรียนโน้น ทำนี่ฝึกนั่น เป็นการปิดกั้นพัฒนาการในด้านการ

จินตนาการและการฝึกคิดไปโดนอัตโนมัติเรากลัวว่าลูกจะไม่เก่ง แต่ไม่เคยถามความรู้สึกของลูกจริงๆว่าเขาฝันอย ากเป็นอะไร

 

หรือ… เพียงแค่เพราะ เราแค่ยัดเยียดความฝันที่เราทำไม่สำเร็จ ความล้ มเหลวที่เราทำให้พ่อแม่ผิดหวังไปไว้ที่ลูก

ให้เป็นคนที่ประสบความสำเร็จเพื่อมาชดเชยปมความล้ มเหลวในอดีตของเรา

– มัธยมอมเปรี้ยว

คราวนี้หนักเลยเพื่อที่จะสอบได้คะแนนดีๆ เพื่อเข้ามหาลัยดีๆได้ เรียนพิเศษทุ กเย็นหลังเลิกเรียน เส าร์ อาทิตย์จัดเต็มวัน ปิดเทอม

ไม่มีพัก ส่งลูกเรียนซัมเมอร์ยุโรป ออสเตรลีย บางทีลูกไม่อย ากไปแต่พ่อแม่นี่แหละอย ากให้ไป

 

บางบ้านหมดเงิ นปีละ 6-7 แสน เพียงเพื่อให้ลูกได้เรียนในสิ่งที่คิดว่าดี ( แต่ไม่รู้ดีจริงๆไหม)

ยังไม่ทันเข้ามหาลัยกดไปเป็น สิบล้าน…!!!

 

– วัยทำงานคือโลกแห่งความเป็นจริง

พอลูกเรียนจบก็คาดหวังว่า ลูกฉันเลี้ยงมาอย่ างพิเศษใส่ไข่ เพิ่มข้าว ดังนั้นจะจ้างลูกฉันมันต้องแพงกว่าสิ …นี่ส่งเรียนไปสิบกว่าล้านนะ

“ปัญหาคือ คุณค่าของใบปริญญา … พ่อแม่ กับ นายจ้าง มองไม่เท่ากัน” พ่อแม่ชาวไทย

 

ตีค่าใบปริญญาลูกรักสูงมาก เพราะเราอยู่ในกระบวนการจ่ายเ งินจริงมาอย่ างย ากลำบาก

ย าวนาน 20 ปี นายจ้าง กลับตีค่าไม่สูงเท่า

 

นายจ้างกลับมีคำถามใหญ่ 3 คำถาม คือ

1. ลูกคุณทำอะไรเป็นบ้าง

2. ลูกคุณเคยทำอะไรสำเร็จมาบ้าง

3. ลูกคุณจะมาสร้างความสำเร็จอะไรให้ที่นี่

 

อย่ าลืมว่ายุคนี้คือยุคที่เปิดกว้าง

– คนอินเดีย ปากี พร้อมจะบินมาทำงานที่กรุงเทพ เขียนโค้ดเขียนโปรแกรมเก่งยังกับ

คลอดออกมาจากคอมพิวเตอร์ แถมขยันขันแข็งยังกับหุ่นยนต์

 

– คนฟิลิปปินส์ อินโด มาเลย์ พร้อมจะบินมาทำงานที่กรุงเทพพวกเขาเก่งภาษาอังกฤษ

ลอจิกดี คุมงาน เป็นหัวหน้าโปรเจคต์ พรีเซนต์ดี ไม่แพ้ฝรั่ง

 

– คนจีน… ไม่ต้องพูดถึง ความขยันอ่ า น ขยันขายของ ขยันพบลูกค้า ใจสู้ไม่ยอมแพ้ง่ายๆ

โดนด่าไม่ยุบ พวกนี้คือยอดเซลล์แมน

 

แต่กับคนไทย ปริญญามหาลัยมันเริ่มจะเบลอๆ ไม่ศักดิ์สิทธิ์ เหมือนรุ่นพ่อแม่แน่นอนว่าย่อมมีบางคน

ได้ไปต่อเจริญรุ่งเรืองโกอินเตอร์…แต่ก็มีจำนวนมากที่แป้กตั้งแต่อายุยังน้อย

 

ความเห็นส่วนตัว

ถ้าพ่อแม่ชาวไทย ( ส่วนหนึ่ง ) ที่ลงทุนกับการศึกษาลูกด้วยเงิ นจำนวนมากๆ ลองปรับแนวคิดสักเล็กน้อยลองประหยัดเงิ นบางส่วน

แล้วนำเงิ นก้อนเดียวกันนี้ เริ่มทำธุรกิจให้ลูกในช่วงปิดเทอมให้ลูกได้ใช้ความพย าย ามลองผิดลองถูก

 

ริเริ่ม สร้างสรร เป็นผู้ประกอบการ ในยุคสมัยที่อาชีพการงานไม่เป็นใจในอีก 10-15 ปีข้างหน้าลองเผื่อเวลาจากการศึกษาที่จัดเต็ม

( เกินไป ) ให้เขาได้ลองเรียนรู้ ริเริ่ม ลองเขียนหนังสือลองเขียนโปรแกรมสร้างแอพ ลอง design

ลองรับงานแปล ลองขายของ ลองลงทุน ฯลฯ

 

จนท้ายที่สุด… ลองหาเงิ นด้วยตัวเองให้ได้ ก่อนที่จะเข้าเรียนมหาลัยถ้าเขาสามารถส่งตัวเองเรียนได้ หรือ มีรายได้มาแบ่งเบาภาระ

เรื่องค่าการศึกษาได้บ้างอันนี้จะช่วยพัฒนาเขาได้ ไม่แพ้การศึกษาในระบบที่แสนแพง

 

พ่อแม่ได้ภูมิใจ ลูกได้ฝึกภูมิต้านทาน และ ความแกร่งเพราะเงิ นเพียงอย่ างเดียวไม่สามารถซื้อส มองให้ลูกคุณได้

ซึ่งหมายถึง ส มองจริงๆ ไม่ใช่คะแนนสอบที่สูงลิ่ว แต่คิดอะไรเองไม่ได้

 

เริ่มต้นทำอะไรเองไม่เป็น อันนั้นไม่ได้เรียกว่าฉลาด แต่เรียกว่าท่องจำเก่งแล้วนำไปทำข้อสอบได้

มันคงจะดีกว่านี้สำหรับลูกคุณถ้าทั้งเก่งในข้อสอบและเก่งในทักษะชีวิตจริง

 

ที่มา : นิ้ ว โ ป้ ง Fundamental VI

ขอบคุณ : v e r r y s m i l e j u n g

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …