Home ข้อคิดสอนใจ การที่เลี้ยงลูกให้รู้จักความลำบาก รู้จักพึ่งพาตัวเองได้ ส อ น ใ จ ได้ดีมาก

การที่เลี้ยงลูกให้รู้จักความลำบาก รู้จักพึ่งพาตัวเองได้ ส อ น ใ จ ได้ดีมาก

คนเป็นพ่อเป็นแม่ควรฝึกหัดให้ลูกรู้จักความลำบาก สอนลูกจับปลาไม่ใช่หาปลาให้

ลูกกิน สอนลูกให้จับปลาเป็น หากินได้ตลอดไป …!!จง อ ย่ า ให้ปลา แ ก่ เขา… ควร

จะให้เบ็ด ต ก ปลาเขาไป แล้วสอน วิ ธี การหาปลาให้ แ ก่ เขา เพื่อให้เขารู้จักการเ

อาตัวรอดในสังคม และ รู้จักการหากินด้วยตัวของเขาเอง

 

คนเป็นพ่อเป็นแม่หลายคนเป็นแบบนี้…ลูก… ” แม่ขอ เ งิ น หน่อย จะออกไปเที่ยวกับเพื่อน “

แม่บอกว่า… ” ลูกรู้ไหมว่าสมัยแม่อายุเท่าลูก ไม่เคยเที่ยวที่ไหนเลย ต้องทำงาน ทุ ก อ ย่ า ง

พับถุงกระดาษขาย ตัดใบตองขนไปส่งขายในตลาด แต่ละบาทแต่ละสตางค์ต้องอาบเหงื่อ

ต่างน้ำลูกต้องรู้จักความลำบาก ไม่งั้นอีกหน่อย

 

เกิดไม่มีแม่แล้วจะทำยังไง….. “คนเป็นแม่ได้แต่ร่าย ย า ว ส า ธ ย า ย ถึงอดีตอันลำบาก

ของตน ส่วนลูกก็นั่งฟังแม่เงียบๆ เมื่อแม่เทศน์จบ… ก็ควัก เ งิ น ยื่นให้ลูกตามเคย…!!

พ่อแม่จำนวนมากทำ อ ย่ า ง นี้จริงๆ เมื่อลูกขอ เ งิ น ไปเที่ยว จะพร่ำบ่นลูก และ เล่า

เรื่องเมื่อตนเผชิญความลำบากในสมัยก่อน

เล่าย้อนไปถึงชีวิตลำบากของตน เปรียบเทียบตนเองกับลูกในวัยเท่ากัน แล้วปิดท้ายด้วย

การให้ เ งิ น ลูกไป…!!สมัยก่อนไม่มีคำว่า… ” มรดก “ ในพจนานุกรมชีวิต ทุ ก อ ย่ า ง

ในชีวิตต้องออกแรงหามาด้วยตัวเอง อ ย่ า ง ย า กลำบากทว่าเมื่อลืมตาอ้าปากได้ คนเป็น

พ่อเป็นแม่รุ่นก่อนจึงกลัวลูกต้องมาลำบากแบบตน

 

จึงเผลอทำให้ลูก เ สี ย คนโดยไม่ตั้งใจเลี้ยงลูกแบบหาปลาให้กิน ไม่หัดให้ลูกทำอะไรเอง

จริงๆจังๆ พ่อแม่จำนวนมากเก็บ เ งิ น เก็บ ท อ ง ไว้โดยไม่ยอมใช้ บอกว่า… “เก็บไว้ให้ลูก”

เพียงเพราะ พ่อแม่ ไม่ อ ย า ก ให้ลูก ผ่ า นความลำบากเหมือนตัวเอง การเตรียม ทุ ก

อ ย่ า ง ให้ลูก ก็ไม่ต่างอะไรกับหาปลาให้ลูกกินเลย

 

เหมือนสะท้อนสิ่งที่ตัวเองขาดไปในวัย เ ด็ ก คิดว่าสิ่งเหล่านั้นจะเติมเต็มลูกได้ แต่มันกลับสร้าง

นิสัย ” ไม่สู้งานหนัก “ ให้ลูกไปโดย ป ริ ย า ย …!!ไม่มี เ งิ น ไม่ใช่ปัญหา การไม่รู้จักคิด ไม่รู้จัก

ทำมาหากิน ไม่มีความ พ ย า ย า ม นั่นแหละ คือปัญหาบางครั้งการมี เ งิ น มาก อาจทำให้เลี้ยง

ลูก ย า ก ขึ้น…!! หากเปรียบ เ งิ น เหมือนไขมันใน ร่ า ง ก า ย

 

ก็คงไม่ผิดนัก น้อยไปก็ไม่ดี มากไปก็ส่งผล เ สี ย ต่อ สุ ข ภ า พในสังคมบูชาคน ร ว ย และ การ

ร ว ย ทางลัด การอบรมสั่งสอนลูก เดี๋ยวนี้ ย า ก ขึ้นเรื่อยๆเพราะสิ่งเร้ารอบตัว ทางเดียวที่จะให้

ลูกโตขึ้นแล้วยืนด้วยลำแข้งของตัวเองได้ คือต้องสอนเรื่องความอดทน

 

วินัยการใช้ เ งิ น และ การหาปลากินเองการรู้จักใช้ชีวิต และ รับผิดชอบตัวเอง อ ย่ า สร้างปัญหา

แ ก่ สังคม ไม่พอกพูนด้วย ” ไขมันแห่งวัตถุนิยม “ มากเกินไปพ่อแม่ต้องมองภาพกว้างและมองให้

ออกว่า หากให้มากเกินไปจะทำให้ลูกไม่รู้จักหามาด้วยตัวเองหรือไม่ ทำอะไรไม่เป็นเลยหรือเปล่า

กลายเป็นรอแต่แบมือขอ อ ย่ า ง เดียว

ความรักย่อมเป็นเรื่องดี แต่ต้องรักให้ถูก วิ ธี ด้วย คน ร ว ย ที่ฉลาด รู้ว่าการได้ เ งิ น เป็นเรื่องง่าย

กว่าการใช้ เ งิ น และ คนที่ไม่รู้จักหา เ งิ น มักใช้จ่าย เ งิ น ฟุ่มเฟือยคนที่ ร ว ย จากสมบัติที่ได้มา

ง่ายๆ จากมรดก อาจจะขาดความรู้สึกดีๆ ของการสร้างตัวด้วยตัวเอง ขาดความภาคภูมิใจของการ

หามาได้ และ ทักษะการ แ ก้ ปัญหาชีวิต

 

มีตัว อ ย่ า ง จริงไม่น้อย ที่คน ร ว ย แบ่งสมบัติครึ่งหนึ่งให้องค์กรการกุศล และ ที่เหลือให้ลูกหลาน เพื่อให้ลูกๆ

เรียนรู้ที่จะยืนด้วยตัวเอง และ สร้างมันขึ้นมาใหม่มหาเศรษฐีระดับโลก อ ย่ า ง วอร์เรน บัฟเฟตต์บริจากทรัพย์สิน

เกือบทั้งหมดให้องค์กรการกุศล แล้วบอกว่า…” ผมได้ทิ้งมรดกส่วนหนึ่งให้พวกเขา มากพอที่พวกเขารู้สึกว่าจะ

สามารถทำอะไรก็ได้ แต่… ไม่มากพอที่พวกเขาไม่ต้องทำอะไรเลย “

 

เหมือนกับว่าให้รู้จักนำมรดกก้อนนี้ไปลงทุนต่อยอด เพื่อให้ตนเองสามารถจับปลาเองได้เราต้องสอนค่านิยมชื่นชม

บุคคลที่สร้างตนเองจากศูนย์ หา เ งิ น อ ย่ า ง สุจริต รู้คุณค่าของการทำงาน การสร้างตัว นี่อาจเป็นสิ่งที่มีค่ากว่า

การให้ เ งิ น อ ย่ า ง เดียว ตามสุภาษิตที่ว่า… “สอนลูกจับปลา ไม่ใช่จับปลาให้ลูก”

 

Cr. ขอบคุณแหล่งที่มา : วินทร์ เลียววาริณ 

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …