Home เกร็ดความรู้ สิ่งควรรู้เกี่ยวกับที่ดิน ส.ป.ก.

สิ่งควรรู้เกี่ยวกับที่ดิน ส.ป.ก.

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดการซื้ อข า ยที่ดิน กับบทความ

สิ่งควรรู้เกี่ยวกับที่ดิน ส.ป.ก. ไปดูกันว่าที่ดิน ส.ป.ก. สามารถทำการซื้ อข า ยได้หรือไม่

 

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือเอก ส า ร แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรก ร ร ม ( ส.ป.ก. )

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออ กให้กับประช าชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน

 

ต า ม พ ร ะ ราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรก ร ร ม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรก ร ร ม

ได้อย่ างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่ างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะย ากจน

 

คุณสมบัติผู้มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก.

1 มีสัญช าติไทย

2 บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว

3 ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต

4 ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง

5 ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ

6 ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน

7 ยินยอมปฏิบัติต ามระเบียบของ ส.ป.ก.

 

ผู้มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก.

ต า ม พ ร ะ ราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรก ร ร ม พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติม

( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2532 ระบุ ผู้มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. มี 3 ประเภท คือ

 

1. เกษตรกร

เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรก ร ร มเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี

เพื่อประกอบเกษตรก ร ร มแห่งท้องถิ่นนั้น

 

2. ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรก ร ร มเป็นหลัก

ผู้ย ากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี จบการศึกษาทางเกษตรก ร ร ม

ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิช าชีพหรือเทียบเท่า เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรก ร ร ม

 

3. สถาบันเกษตรกร

กลุ่มเกษตรกร

สหกรณ์การเกษตร

ชุมชนสหกรณ์การเกษตรต ามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

 

ที่ดิน ส.ป.ก. โอนให้ใครได้บ้าง

1 สามี ภรรย า

2 บุตร

3 บิดามารดาของเกษตรกร

4 พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันของเกษตรกร

5 พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกันของเกษตรกร

6 หลานของเกษตรกร

 

ที่ดิน ส.ป.ก. สามารถโอนสิทธิและตกทอ ดทางมรดกสิทธิให้ทาย าท ต้องเป็นเกษตรกร

หรือผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรก ร ร มเป็นหลักเท่านั้น การโอนสิทธิ

 

เกษตรกรที่ได้รับที่ดิน ส.ป.ก. ยังมีชีวิตออยู่ สามารถโอนสิทธิให้ทาย าทได้ ต่อเมื่อมีเหตุผลและความจำเป็น

เช่น แก่ชรา เ จ็ บ ป่ ว ย เป็นต้น ต ก ท อ ด ทางมรดกสิทธิ เกษตรกรที่ได้รับที่ดิน ส.ป.ก. เ สี ย ชีวิต

ทาย าทสามารถยื่นคำร้องขอรับมรดกสิทธิได้

 

ที่มา ddproperty, parinyajai

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …