Home เกร็ดความรู้ การขอคืนมรดก ที่เคยโอนให้ลูก

การขอคืนมรดก ที่เคยโอนให้ลูก

จากที่เราได้ดูข่าวหลายต่อหลายช่อง และหลายครั้งที่มีข่าวเกี่ยวกับพ่อแม่

โอนที่ดินทรัพย์สินให้ลูกตัวเอง เพื่อหวังฝากผ ีฝากไ ข้ ให้ลูกหลานเลี้ยงดูย ามแ ก่เฒ่า

แต่สุดท้ายกลับกลับโดนลูกในไ ส้หักหลัง เน รคุณ และไล่พ่อแม่ออกจากบ้าน

 

จะด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่ เรามิอาจจะไปทราบได้ เพราะมันเป็นเรื่องของคนในครอบครัวเขา

แต่วันนี้ปริญญาชีวิต ได้ไปหาความรู้เพิ่มเติมมา ว่าหากเกิดเหตุการณ์ในกรณีนี้กับเรา

เราจะทำอย่ างไร

 

มรดกที่ดินโอนให้แล้วจะเรียกคืนได้ไหม ถ้าพ่อแม่ยังไม่เ สียชีวิตอย่ างนี้เรียก ให้โดยเสน่หาค่ะ

สามารถถอนคืนการให้ด้วยเหตุเน รคุณได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 531 ค่ะ เราไปดูคำขย าย

ความเพิ่มเติมเลย

 

การให้ คือ สัญญาซึ่งบุคคล เรียกว่า ผู้ให้โอนทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาแ ก่บุคคลอีกคนหนึ่ง

เรียกว่าผู้รับ และผู้รับยอมรับเอาทรัพย์สินนี้ และการมอบให้นั้นจะต้องไม่ได้หวัง สิ่งตอบแทนแต่อย่ างใด

เช่น แม่ยกบ้านพร้อมที่ดินให้ลูกโดยเสน่หา

 

โดยการจดทะเบียนการโอนกร รมสิทธิ์ที่สำนักงานที่ดินเรียบร้อยโดยที่ลูกไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนอะไรให้แม่

ดังนั้น จึงเรียกว่าเป็นการมอบให้โดยเสน่หาแล้วจะทำอย่ างไร

 

หากแม่ต้องการอย ากได้ที่ดินคืนจากลูก ซึ่งอยู่ดี ๆ เมื่อแม่โอนกร รมสิทธิ์ที่ดินและบ้านไปให้ลูกแล้ว

แม่อย ากจะเรียกที่ดินคืนจากลูกไม่สามารถทำได้ เนื่องจากการให้โดยเสน่หา

 

เมื่อให้กันแล้วจะไม่สามารถถอนคืน หรือ เรียกคืนได้ หากการให้นั้นชอบด้วยกฎหมาย

แต่จะมีข้อยกเว้นที่สามารถเรียกคืนได้ คือ การประพฤติเน รคุณ มีลักษณะดังนี้

 

( 1 ) ถ้าผู้รับได้ปร ะทุษร้ ายต่อผู้ให้เป็นความผิดฐานอาชญาอย่ างร้ ายแรง

ตามประมวลกฎหมายลักษณะอ าญา เช่น ทำร้ ายร่ างกาย

 

( 2 ) ถ้าผู้รับได้ทำให้ผู้ให้เสี ยชื่อเสี ยง หรือหมิ่ นประม าทผู้ให้อย่ างร้ ายแรง

เช่น นาย ก. มอบที่ดินให้ นาย ข. โดยเสน่หา ต่อมานาย ก. เจ็ บป่ วยไปขอความช่วยเหลือจาก นาย ข.

นาย ข. ไม่พอใจพร้อมพูดว่า ‘บั กหมามึงแ ก่แล้ว พูดจากลับไปกลับมาเหมือนเด็ กเล่นขายของ

 

มึงไม่มีศีลธรรม มึงไปต ายที่ไหนก็ไป’ ถือได้ว่าเป็นการหมิ่นประม าท นาย ก. อย่ างร้ ายแรง

จึงมีเหตุประพฤติเน รคุณที่นาย ก.จะจะเรียกคืนที่ดินกับนาย ข. ได้

 

( 3 ) ถ้าผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งของจำเป็นเลี้ยงชีวิตแ ก่ผู้ให้ ในเวลาที่ผู้ให้ย ากไร้และผู้รับยัง

สามารถจะให้ได้เช่น แม่โอนบ้านพร้อมที่ดินให้แ ก่ลูก โดยการเปลียนแปลงชื่อในโฉนดเรียบร้อยแล้ว

แต่แม่ก็ยังอาศัยอยู่ในบ้านหลังนั้น

 

ต่อมาลูกกลับขั บไ ล่แม่ออกจากบ้านพฤติกร รมของลูกก็ถือว่าประพฤติเน รคุณแล้ว

ดังนั้นแม่สามารถเรียกร้องบ้านพร้อมที่ดินคืนจากลูกได้

 

ระยะเวลาในการฟ้องร้องคดีถอนการให้โดยเสน่หา

1. มีระยะเวลา 6 เดือนนับจากที่รู้ หรือ

2. ภายใน 10 ปี นับจากเหตุประพฤติเน รคุณนั้นได้เกิดขึ้น

 

สรุป ผู้ให้ต้องยังไม่ได้ให้อภั ยแ ก่ผู้รับในเหตุประพฤติเน รคุณนั้น และต้องฟ้องถอนคืนการให้ภายใน 6 เดือน

นับแต่เมื่อทราบถึงเหตุประพฤติเน รคุณ แต่ไม่เกิน 10 ปี ภายหลังเหตุการณ์ประพฤติเน รคุณนั้น

และการให้ที่ไม่สามารถที่จะฟ้องขอเพิกถอนคืนการให้ เพราะเหตุเน รคุณ ได้แ ก่

 

1. ให้เป็นบำเหน็จสินจ้างโดยแท้

2. ให้สิ่งที่มีค่าภาระติ ดพัน

3. ให้โดยหน้าที่ธรรมจรรย า

4. ให้ในการสมรส

 

และนี่ก็เป็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียกคืน มรดกในกรณีที่ลูกหลานไม่เลี้ยงดูหรือเน รคุณ

แต่สุดท้ายแล้ว สิ่งสำคัญไม่ใช่หลักฐานการโอนเ งิน แต่สิ่งสำคัญ คือ ‘ใจ’ ของพ่อแม่ ว่ามีความรู้สึกว่า

 

คุณรักและดูแลท่านไหม ทำให้ท่านชื่นใจมีความสุขไหม เป็นคนที่น่าไว้วางใจให้ดูแลทรัพย์หรือเปล่า

ถ้าคุณรักและดูแลพ่อแม่ ถึงท่านจะมีสิทธิเรียกคืน ท่านก็คงจะไม่เรียกคืน

 

ขอบคุณที่มา : postsabaidee

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …