Home ข้อคิดสอนใจ แนวคิด เ งิ น เดือนไม่เยอะ แต่ก็มีความสุขได้

แนวคิด เ งิ น เดือนไม่เยอะ แต่ก็มีความสุขได้

1. โ ชคดีแค่ไหนแล้วที่มีงาน มีเ งิน ถ้าคุณกำลังท้อใจ รู้สึกว่างานที่ทำอยู่ทำไมด้ อยมูลค่า

ด้อยตำแหน่ง ลองมองในมุมกลับกันว่า ‘ดีแค่ไหนแล้ว ที่มีงานทำ’ บางคนไม่มีโอกาสที่ดีเท่าเราด้วยซ้ำไป

 

พวกเขาต้องดิ้นรนหนักกว่าบ้ าง หรือไม่ก็ยอมแพ้ ไม่หางานซะเลยก็มี

แต่อย่ าใช้ปลอบใจตัวเองในวันที่คุณรู้สึกว่างานที่ทำอยู่มันทำให้คุณรู้สึกไม่โอเคมาก ๆ

 

เช่น สวัสดิการห่ วยมาก, มีการทุจริตในองค์กรจริง, ยิ่งอยู่ยิ่งถูกเอาเปรียบจริง

ลาออกเลยดีกว่า อย่ าปลอบใจตัวเองถ้ารู้สึกท ร ม า นมาหลายหนแล้ว

 

2. ถึงทุ กอย่ างที่มีอยู่ ไม่แพง ไม่หรู แต่ก็ครบครัน ที่พักก็มี, การเดินทางก็ไม่ลำบากมาก,

การกินอยู่ก็พออิ่มพอกิน, ได้เข้าสังคมตามโอกาสที่ควร, ได้เพื่อนร่วมงานที่ดี,

 

มีวันหยุดที่สบาย, เ จ็ บ ป่ ว ยก็มีค่ารั ก ษ า ฯลฯ สิ่งรอบตัวเรามีครบขนาดนี้

ก็ไม่จำเป็นแล้วที่จะต้องดิ้นรนให้เกินฐานะ พอใจในสิ่งที่ตัวเอง มีอยู่นี่แหละความสุขที่แท้จริง

 

3. ถึงจะออกนอกห้องบ่อย ๆ ก็ไม่ได้แปลว่าเราจะไม่มีเงิ นเก็บเลย

จริงอยู่ว่าก้าวเท้าออกไปนอกบ้ านหรือนอกห้อง ก็เท่ากับว่าเรา

 

ยินยอมที่จะจ่ายตังค์แล้ว อย่ าเหนียวกับตัวเองไปหน่อยเลย

ถ้าวันไหนไม่มีตังค์หรือเ งินช็อต ไม่จำเป็นต้องออกไปใช้เงิ นมากก็ได้

 

ลองหากิจกร รมง่าย ๆ เช่น ออกไปวิ่งที่สวนสาธารณะ, ออกไปเดินเล่นที่ห้าง, ออกไปปั่นจักรย านเที่ยวเล่น

อย่ าติ ดนิสัยอยู่ในห้องบ่อย ๆ เราควรแอคทีฟตัวเองบ้ าง ร่า ง ก า ยจิตใจ

 

จะได้แจ่มใส ตื่นตัวอยู่เสมอ ไม่เ จ็ บ ป่ ว ยง่าย ไม่รู้สึกน่าเบื่อ

หรือหดหู่ง่ายเหมือนขังตัวเองอยู่แต่ในห้อง

4. สร้างมิตรภาพกับคนรอบตัวเข้าไว้ ความสัมพันธ์อันดีต่อเพื่อนบ้ าน,

เพื่อนร่วมงาน, ใครก็ตามที่อยู่ใกล้ ๆ เรา นอกจากเราจะได้รับการแ บ่ ง ปั น

 

ของกินของใช้, อ า ห า ร, โอกาสดี ๆ อันอื่น ๆ ในย ามที่เราเดื อดร้อนขึ้นมา

เช่น จู่ ๆ ก็ไม่สบายหนัก พวกเขาอาจช่วยเราผ่ อ นหนักเป็นเบา

 

คอยเป็นหูเป็นตาช่วยดูแลเรา ปฏิเสธไม่ได้หรอกว่าความสัมพันธ์มันมาพร้อมกับผลประโยชน์

แต่เราก็เลือกได้นะว่าจะบาลานซ์ให้เรื่องไหนมาเป็นอันดับแรก ถ้าคุณเลือกผลประโยชน์นำหน้า

 

คุณก็จะไม่ได้รับความจริงใจเลย เลือกสิ่งไหน ได้สิ่งนั้นไงล่ะ

(เชื่อเถอะว่าร วยเพื่อน มันดี๊ดีกว่าร วยเงิ นท องซะอีกนะ)

 

5. กระจายเงิ นเก็บ/ต่อยอดเงิ นเก็บ เงิ นจากการออมเป็นรายวัน/รายสัปดาห์/รายเดือน

ไม่ควรมีในบัญชีเดียวหรือแหล่งเดียว ควรกระจายแหล่งเ งินฝาก

 

เช่น ฝากไว้เป็นบัญชีกลางร่วมกับแฟน, ฝากไว้ที่บัญชีของลูกน้อย,

ฝากไว้ที่บัญชีของพ่อแม่ เพื่อป้องกันการใช้เงิ นแบบไม่มีลิมิต

 

หรือกันเงิ นไว้สำหรับเหตุฉุ ก เ ฉิ นได้หลายที่ และหากมีเ งินเก็บมากพอ

สัก 5,000-10,000 บาท ลองต่อยอดเป็นหุ้น, ธุรกิจเล็ก ๆ, ท องคำ,

 

เงิ นฝากประจำด อ ก เ บี้ ยสูง เงิ นคุณจะได้เติบโตมากขึ้น

ไม่เป็นยอดนิ่ง ๆ แค่บัญชีเดียวแต่เสี ยวไส้ ใช้หมดเมื่อไหร่ เจ๊งเมื่อนั้น

 

6. ควรซื้ อของด้วยเงิ นสด ไม่ใช้ระบบผ่ อ นหรือบั ต ร เ ค ร ดิ ต อย ากได้อะไร

พย าย ามเก็บเงิ นให้ครบแล้วค่อยไปซื้ อ อย่ าติ ดนิสัยซื้ อ มาก่อน

 

ผ่ อ นทีหลัง หรือจ่ายด้วยบั ต ร เ ค ร ดิ ต ซึ่งเป็นการนำเอาเงิ นในอนาคตมาใช้

(ไม่เหมาะกับคนเงิ นเดือนหลักพันเป็นอย่ างยิ่ง เพราะสเตทเม้นท์

 

ไม่ปลอดภัยพอสำหรับการหมุนเ งิน) การก่อห นี้โดยไม่จำเป็น

ข าดเหตุผล อาจทำให้เราไม่มีเงิ นเก็บ เงิ นขา ดมือ ติ ดพันกับการกู้ยืมเป็นทอด ๆ ไม่รู้จบ

 

ขอบคุณที่มา : kaeyim

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …