Home เกร็ดความรู้ ประโยชน์ ข อ ง พ.ร.บ. รถ สำคัญมาก ต้ อ ง รู้

ประโยชน์ ข อ ง พ.ร.บ. รถ สำคัญมาก ต้ อ ง รู้

ในทุ กปีคนที่มีรถยนต์จะต้องทำการต่อภาษีรถและพ.ร.บ. ซึ่งเป็นหน้าที่ของเจ้าของรถที่ต้องรู้และเข้าใจข้อมูล

และสิ่งที่เป็นผลประโยชน์ของเราซึ่งเราสามารถเบิกคืนเป็นเ งิ นได้จากส่วนไหนบ้าง

 

โดยในบทความนี้เราได้นำเอาเรื่องของผลประโยชน์จากการต่อ พ.ร.บ. รถยนต์มาให้

ได้ทำความเข้าใจกันอ ย่ าง ง่าย ๆ

 

พ.ร.บ.รถ หรือ ประกันภั ยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งเป็นไปต ามพ ระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภั ย

จากรถ มีมาตรการว่า ให้รถยนต์และจักรย านยนต์ทุ กคันต้องทำประกันนี้ และจะต้องเ สี ยภาษี

 

ในการต่อทะเบียนรถด้วย โดยที่ต้องทำอ ย่ างควบคู่กันไป เพื่อให้การคุ้มครองสำหรับเจ้าของรถ

ในกรณีประสบอุ บั ติ เ ห ตุทั้งรถยนต์และจักรย า นยนต์ ซึ่งการคุ้มครองนี้จะรวมถึงการดูแลคลอบคลุม

การเบิกจ่ายในกรณีต่าง ๆ ได้ดังนี้

 

1 ค่ารั ก ษ า พ ย า บาลเบื้องต้นจากการได้รั บ บ า ด เ จ็ บ จะจ่ายต ามจริง สูงสุด 30,000 บ า ท/คน

 

2 กรณี ทุ พ พ ล ภ า พ ถ า ว ร หรือ เ สี ยอ วั ย ว ะ อ ย่ าง ถาวร จะเบิกได้ 30,000 บ า ท/คน

(ในกรณีที่เ สี ยห า ยหรื อบ าด เจ็ บทั้งข้ อ 1 และ 2 จะสามารถเบิกจ่ายได้ไม่เกิน 60,000 บ า ท/คน)

 

3 หากมีการเคลมประกันและได้รับการพิสูจน์ตัดสินแล้วว่าไม่ใช่ฝ่ายผิ ด จะได้รับค่าสินไหมทดแทน ซึ่งมีเ งิ น

คุ้มครองรวมกับค่าเ สี ยห า ยเบื้องต้น ดังนี้

 

ในกรณีที่เป็นฝ่ายถูก

1 ค่า รัก ษ าพ ย า บ า ลจากการบ า ดเ จ็ บสูงสุด ไม่เกิน 80,000 บ า ท/คน

 

2 พิ ก า รหรือทุ พ พ ล ภ า พ ถ า วร ไม่เกิน 300,000 บ า ท/คน

 

3 การเสี ย อวัย วะ

 

หากเ สี ยอ วั ย วะตั้งแต่ข้ อมือ แ ข น เท้า หรือ ตั้งแต่ ข้ อเ ท้า รวมทั้งสา ยต า อย่ า งใดอย่ างหนึ่ง

รวมกันแล้ว โดย 2 กรณีนี้ขึ้นไปจะได้ 300 บ า ท

 

หากเ สี ยอ วั ย ว ะคือมือตั้งแต่ แ ข น หรือข้ อเท้า ขา รวมทั้งส า ย ต า หู ความสามารถในการพู ด อ วั ย ว ะ

ใ นการสืบ พั น ธุ์ และอ วั ย ว ะอื่นๆ จะได้ 205,000 บ า ท

 

กรณีเ สี ย นิ้ ว ตั้งแต่ข้ อ นิ้ว ขึ้นไป ไม่ว่าจะนิ้ วเดียวหรือหลา ยนิ้ ว

จะได้ 200,000 บ า ท

 

4 ค่าชดเชยในช่วงเวลารั ก ษ าตัว จะได้รับวันละไม่เกิน 200 บ า ท ไม่เกิน 20 วัน

หรือจ่ายค่าชดเชยทั้งหมดไม่เกิน 4,000 บ า ท

 

5 ยอ ดเ งิ นในการให้ความคุ้มครองสูงสุดทั้งหมดรวมไม่เกิน 304,000 บ า ท

 

6 รถยนต์ขนาดที่นั่งไม่เกิน 7 ที่นั่ง มีวงเ งิ นคุ้มครองสูงสุด ต่อเหตุ/ครั้ง 5 ล้านบ า ท

 

7 รถยนต์ขนาดที่นั่งเกิน 7 ที่นั่ง มีวงเ งิ นคุ้มครองสูงสุด ต่อเหตุ/ครั้ง 10 ล้านบ า ท

 

เอกส ารที่ใช้ในการยื่นเคลม พ.ร.บ.กรณีได้รับบ า ด เ จ็ บ

1 สำเนาบัตรประชาชนผู้ ประ ส บ เ ห ตุ

2 ใบเสร็จต้นฉบับ กรณีเบิกค่าชดเชย หรือเข้าเป็นผู้ ป่ ว ยใน

 

กรณีทุ พ พ ลภ าพ

1 สำเนาบัตรประชาชนของผู้ประส บเหตุ

2 ใบรับรองแ พ ท ย์ หรือเอกส ารยืนยันความ พิ ก า ร

 

กรณีเ สี ย ชี วิ ต

1 สำเนาบัตรประชาชนเ สี ชี วิ ต

2 ใบรับรองแพทย์หรือเอกส ารยืนยันการเ สี ย ชี วิตจากโรงพ ย าบาล

 

3 ใ บม ร ณ บั ตร

4 สำเนาบันทึกประจำวันของเจ้าหน้าที่สอบสวน หรือ หลักฐานที่แสดงว่าผู้เ สี ย ชี วิ ตประสบกับเ ห ตุนั้นๆ

 

5 สำเนาบัตรประช า ชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน ของ ทาย าท

 

6 สำเนาบันทึกประจำวันของคดีจาก พ นักง านสอบสวน หรือ หลักฐานทีแสดงให้เห็นว่าบุคคลนั้นเ สี ยชี วิ ต

จากประสบภั ยจากรถ เมื่อเตรียมเอกส ารทั้งหมดครบถ้วนแล้ว

 

ให้ทำเรื่องเบิกจ่ายจากบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประ สบภั ยจากรถ จำกัด ได้ทุ กสาขา

 

สำหรับเรื่องของการเบิกจ่ายเ งิ น จะได้รับเ งิ นภายใน 7 วัน ซึ่งจะคุ้มครองในส่วนของบุคคลเท่านั้น

ไม่เกี่ยวกับ ท รั พ ย์ สินหรือตัวรถที่เ สี ยห า ย ดังนั้น เราจึงควรมีการทำประกันภั ย รถ ยนต์ควบคู่กันด้วย

 

หากเกิดเห ตุจะได้ไม่ต้องจ่ายเ งิ นค่าเ สี ยห า ยหรือค่าซ่อมรถทั้งของตัวเองและคู่กรณี

 

ขอบคุณที่มา : kiddeemak99

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …