Home ข้อคิดสอนใจ สอนลูก ” จั บ ป ล า” ไม่ใช่ “หา ป ล า ใ ห้ ลู ก กิ น”

สอนลูก ” จั บ ป ล า” ไม่ใช่ “หา ป ล า ใ ห้ ลู ก กิ น”

คนเป็นพ่อเป็นแม่ควรฝึกหัดให้ลูกรู้จักความลำบาก สอนลูกจับปลาไม่ใช่หาปลาให้ลูกกิน

สอนลูกให้จับปลาเป็น หากินได้ตลอดไป …!!

 

จงอย่ าให้ปลาแ ก่เขา… ควรจะให้เบ็ดต กปลาเขาไป แล้วสอนวิ ธีการหาปลาให้แ ก่เขา

เพื่อให้เขารู้จักการเอาตัวรอดในสังคม และ รู้จักการหากินด้วยตัวของเขาเอง

 

คนเป็นพ่อเป็นแม่หลายคนเป็นแบบนี้…

ลูก… ” แม่ขอเงิ นหน่อย จะออกไปเที่ยวกับเพื่อน “

 

แม่บอกว่า… ” ลูกรู้ไหมว่าสมัยแม่อายุเท่าลูก ไม่เคยเที่ยวที่ไหนเลย

ต้องทำงานทุ กอย่ าง พับถุงกระดาษขาย

 

ตัดใบตองขนไปส่งขายในตลาด แต่ละบาทแต่ละสตางค์ต้องอาบเหงื่อต่างน้ำ

ลูกต้องรู้จักความลำบาก ไม่งั้นอีกหน่อย เกิดไม่มีแม่แล้วจะทำยังไง….. “

คนเป็นแม่ได้แต่ร่ายย าว สาธย ายถึงอดีตอันลำบากของตน ส่วนลูกก็นั่งฟังแม่เงียบ ๆ

 

เมื่อแม่เทศน์จบ… ก็ควักเงิ นยื่นให้ลูกตามเคย…!!

พ่อแม่จำนวนมากทำอย่ างนี้จริง ๆ เมื่อลูกขอเงิ นไปเที่ยว จะพร่ำบ่นลูก

และ เล่าเรื่องเมื่อตนเผชิญความลำบากในสมัยก่อน

เล่าย้อนไปถึงชีวิตลำบากของตน เปรียบเทียบตนเองกับลูกในวัยเท่ากัน

แล้วปิดท้ายด้วยการให้เงิ นลูกไป…!!

 

สมัยก่อนไม่มีคำว่า… ” มรดก “ ในพจนานุกรมชีวิต

ทุ กอย่ างในชีวิตต้องออกแรงหามาด้วยตัวเองอย่ างย ากลำบาก

 

ทว่าเมื่อลืมตาอ้าปากได้ คนเป็นพ่อเป็นแม่รุ่นก่อนจึงกลัวลูกต้องมาลำบากแบบตน

จึงเผลอทำให้ลูกเสี ยคนโดยไม่ตั้งใจ

 

เลี้ยงลูกแบบหาปลาให้กิน ไม่หัดให้ลูกทำอะไรเองจริง ๆ จัง ๆ

พ่อแม่จำนวนมากเก็บเ งินเก็บท องไว้โดยไม่ยอมใช้ บอกว่า… “เก็บไว้ให้ลูก”

 

เพียงเพราะ พ่อแม่ ไม่อย ากให้ลูกผ่ านความลำบากเหมือนตัวเอง

การเตรียมทุ กอย่ างให้ลูก ก็ไม่ต่างอะไรกับหาปลาให้ลูกกินเลย

 

เหมือนสะท้อนสิ่งที่ตัวเองข าดไปในวัยเด็ ก คิดว่าสิ่งเหล่านั้นจะเติมเต็มลูกได้

แต่มันกลับสร้างนิสัย ” ไม่สู้งานหนัก “ ให้ลูกไปโดยปริย าย…!!

 

ไม่มีเ งินไม่ใช่ปัญหา การไม่รู้จักคิด ไม่รู้จักทำมาหากิน

ไม่มีความพย าย ามนั่นแหละ คือปัญหา

 

บางครั้งการมีเงิ นมาก อาจทำให้เลี้ยงลูกย ากขึ้น…!!

หากเปรียบเ งินเหมือนไขมั นในร่ างกายก็คงไม่ผิดนัก

น้อยไปก็ไม่ดี มากไปก็ส่งผลเ สียต่อสุ ขภาพ

 

ในสังคมบูชาคนร วย และ การร วยทางลัด การอบรมสั่งสอนลูก เดี๋ยวนี้ย ากขึ้นเรื่อย ๆ

เพราะสิ่งเร้ารอบตัว ทางเดียวที่จะให้ลูกโตขึ้นแล้วยืนด้วยลำแข้งของตัวเองได้

คือต้องสอนเรื่องความอดทน วินัยการใช้เ งิน และ การหาปลากินเอง

 

การรู้จักใช้ชีวิต และ รับผิดชอบตัวเอง อย่ าสร้างปัญหาแ ก่สังคม

ไม่พอกพูนด้วย ” ไขมั นแห่งวัตถุนิยม “ มากเกินไป

 

พ่อแม่ต้องมองภาพกว้างและมองให้ออกว่า หากให้มากเกินไปจะทำให้ลูกไม่รู้จัก

หามาด้วยตัวเองหรือไม่ ทำอะไรไม่เป็นเลยหรือเปล่า กลายเป็นรอแต่แบมือขออย่ างเดียว

 

ความรักย่อมเป็นเรื่องดี แต่ต้องรักให้ถูกวิ ธีด้วย คนร วยที่ฉลาด รู้ว่าการได้เงิ น

เป็นเรื่องง่ายกว่าการใช้เงิ น และ คนที่ไม่รู้จักหาเ งินมักใช้จ่ายเงิ นฟุ่มเฟือย

 

คนที่ร วยจากสมบัติที่ได้มาง่าย ๆ จากมรดก อาจจะข าดความรู้สึกดี ๆ

ของการสร้างตัวด้วยตัวเอง ข าดความภาคภูมิใจของการหามาได้

และ ทักษะการแก้ปัญหาชีวิต

 

มีตัวอย่ างจริงไม่น้อย ที่คนร วยแบ่งสมบัติครึ่งหนึ่งให้องค์กรการกุศล และ

ที่เหลือให้ลูกหลาน เพื่อให้ลูก ๆ เรียนรู้ที่จะยืนด้วยตัวเอง และ สร้างมันขึ้นมาใหม่

 

มหาเศรษฐีระดับโลกอย่ าง วอร์เรน บัฟเฟตต์

บริจากทรัพย์สินเกือบทั้งหมดให้องค์กรการกุศล แล้วบอกว่า…

 

” ผมได้ทิ้งมรดกส่วนหนึ่งให้พวกเขา มากพอที่พวกเขารู้สึกว่าจะสามารถ

ทำอะไรก็ได้ แต่… ไม่มากพอที่พวกเขาไม่ต้องทำอะไรเลย “

 

เหมือนกับว่าให้รู้จักนำมรดกก้อนนี้ไปลงทุนต่อยอด

เพื่อให้ตนเองสามารถจับปลาเองได้

 

เราต้องสอนค่านิยมชื่นชมบุคคลที่สร้างตนเองจากศูนย์

หาเ งินอย่ างสุจริต รู้คุณค่าของการทำงาน การสร้างตัว

 

นี่อาจเป็นสิ่งที่มีค่ากว่าการให้เงิ นอย่ างเดียว

ตามสุภาษิตที่ว่า… “สอนลูกจับปลา ไม่ใช่จับปลาให้ลูก”

 

ขอบคุณที่มา : 108resources

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …