Home ข้อคิดสอนใจ 5 สิ่งที่ต้อง ต ร ว จ ส อ บ เมื่อ คุ ณ ต ก งานแบบไม่ตั้งตัว

5 สิ่งที่ต้อง ต ร ว จ ส อ บ เมื่อ คุ ณ ต ก งานแบบไม่ตั้งตัว

1. ห นี้สิน

จดข้อมูลห นี้สินทุ กประเภทที่ต้องจ่าย โดยให้ทำเป็นตาราง

ให้ชัดเจนว่าแต่ละงวดต้องจ่ายห นี้อะไรบ้าง

 

จำนวนเ งินและด อกเบี้ยเท่าไหร่ สิ้นสุดปีไหน สถาบันการเ งินอะไร

เป็นต้น จากนั้นเรื่องที่ต้องจัดการ คือ ห นี้สิน โดยติ ดต่อกับเจ้าห นี้

 

(ส่วนใหญ่เป็นธนาคาร) เพื่อขอปรึกษาขอผ่อนผันจ่ายห นี้

เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายระหว่างที่กำลังหางานใหม่

 

2. ประกันสังคม

เมื่อกลายเป็นผู้ต กงาน สิ่งที่ต้องทราบ คือ

สิทธิประโยชน์ของประกันสังคมที่จะได้มีอะไรบ้าง

ก็ต้องรวบรวบข้อมูล ศึกษาเงื่อนไขในเว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม

 

จดคำถาม จากนั้นให้ติ ดต่อปรึกษากับเจ้าหน้าที่ หรือถ้าสะดวกควรเดินทาง

ไปสำนักงานประกันสังคมการติ ดต่อสำนักงานประกันสังคม

 

เพื่อสอบถามข้อมูลว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่ างไร เช่น เมื่อยื่นเอกส ารเสร็จ

เรียบร้อยก็จะมีจดหมายนัดให้ไปรายงานตัวเดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 ครั้ง (6 เดือน)

 

หากลืมรายงานตัวในเดือนไหนก็จะไม่ได้เงิ นทดแทนในเดือนนั้น

ต้องสอบถามสำนักงานประกันสังคมว่าการรายงานตัวใช้ช่องทางไหน

 

โดยผู้ถูกเลิกจ้างก็จะได้เงิ นทดแทนในระหว่างการว่างงานจากประกันสังคม

ปีละไม่เกิน 180 วัน อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเดือนล่าสุด

 

โดยมีฐานเงิ นเดือนสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท เช่น เงิ นเดือน 10,000 บาท

จะได้รับเ งินเดือนละ 5,000 บาท

 

แต่ถ้าเงิ นเดือนตั้งแต่ 15,000 บาทขึ้นไป

จะได้รับเดือนละ 7,500 บาทเช่นกัน

3. เงิ นชดเชย

เมื่อถูกบอกเลิกจ้าง ก็จะได้เงิ นชดเชยตามกฎหมายแรงงาน

ซึ่งต้องดูว่าได้จำนวนเท่าไหร่ จากนั้นให้นำไปฝากไว้ในบัญชีออมทรัพย์

 

ส่วนเงิ นที่อยู่ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ แนะนำว่าไม่ควรนำออกมา

เพราะถ้านำออกมาจะต้องจ่ายภาษี ควรเป็นสมาชิกต่อไป

 

ยกตัวอย่ าง ในเบื้องต้นต้องรู้ว่าตัวเองทำงานกับบริษัทแห่งนี้กี่ปี

หรือเมื่อถูกนายจ้างเลิกจ้างจะมีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่าไหร่

 

ถ้าทำงานติ ดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี

มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน

 

ถ้าทำงานติ ดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี

มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน

 

ถ้าทำงานติ ดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี

มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน

 

ถ้าทำงานติ ดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี

มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน

 

ถ้าทำงานติ ดต่อกันครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี

มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน

 

ถ้าทำงานติ ดต่อกันครบ 20 ปี ขึ้นไป

มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน

 

4. สำรวจเ งินสด

เงิ นสด หมายถึง เงิ นที่สามารถเบิกถอนมาใช้จ่ายได้ทันที

ดังนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นเงิ นที่ฝากไว้ในบัญชีออมทรัพย์

และกองทุนรวมตลาดเ งิน โดยตรวจดูว่ามีจำนวนเท่าไหร่

 

5. เงิ นฉุกเฉิน

โดยปกติแล้ว ทุ กคนควรมีเงิ นก้อนหนึ่งที่เก็บเอาไว้ใช้ตอนฉุกเฉิน

โดยผู้เขียนก็มีเงิ นสำรองฉุกเฉิน 3 เดือนของค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน

 

วิ ธีการให้สำรวจว่าตัวเองมีค่าใช้จ่ายแต่ละเดือนเท่าไหร่

โดยนำเงิ นเดือนมาคำนวณ เช่น เงิ นเดือน 20,000 บาท

 

มีค่าใช้จ่ายราว 10,000 บาท สมมติว่า อย ากมีเงิ นออมสำรองฉุกเฉิน

3 เท่าของค่าใช้จ่าย ก็นำ 10,000 มาคูณ 3

แสดงว่าควรมีเ งินไว้ใช้ย ามจำเป็น 30,000 บาท

 

ขอบคุณที่มา : forlifeth

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …